พัดลมรีโมท
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
พัดลมไฟฟ้า ประเทศไทยตั้งอยู่ในเมืองเขตร้อนชื้น ดังนั้นพัดลมจึงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มี
ความจำเป็น พัดลมที่ใช้กันทั่วมีหลายประเภท สามารถแบ่งตามลัก ษ ะการใช้งานได้ดังนี้ พัดลมตั้งพื้น พัด
ลมตั้งโต๊ะ พัดลมติดเพดาน พัดลมติดผนัง และพัดลมดูดอากาศ แม้ว่าพัดลมที่มีหลายประเภทแต่ก็มีหลักการ
ทำงานเหมือนกัน
พัดลมโดยทั่วไปใช้มอเตอร์ไฟฟ้า
3 ชนิด คือ
ยูนิเวอร์ซัลมอเตอร์ เป็นมอเตอร์ชนิดที่ใช้ได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ มอเตอร์แบบบังขั้ว
และสปลิตเฟสมอเตอร์มอเตอร์ทั้งสองชนิดเป็นมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่ใช้กับกระแสสลับ
การใช้งานอย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน พัดลมตั้งโต๊ะจะมีราคาต่ำกว่าพัดลมตั้งพื้น และใช้พลังงาน
ไฟฟ้าต่ำกว่า ทั้งนี้เพราะมีขนาดมอเตอร์และกำลังไฟต่ำกว่า แต่พัดลมตั้งพื้นจะให้ลมมากกว่า ดังนั้นในการ
เลือกใช้จึงมีข้อที่ควรพิจารณา ดังนี้
การดูแลรักษา
การดูแลรักษาพัดลมอย่างสม่ำเสมอจะช่วยทำให้พัดลมทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ และยังช่วยยืด
อายุการทำงานให้ยาวนานขึ้นโดย มีวิธีการดังนี้
หมั่นทำความสะอาดตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใบพัด และตะแกรงครอบใบพัด
อย่าให้ฝุ่นละอองเกาะจับ และ ต้องดูแลให้มีสภาพดีอยู่เสมออย่าให้แตกหักหรือชำรุด หรือโค้งงอผิดส่วนจะ
ทำให้ลมที่ออกมามีความแรงหรือความเร็วลดลง
หมั่นทำความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ของพัดลม ซึ่งเป็นช่องระบายความร้อนของมอเตอร์ อย่า
ให้มีคราบน้ำมันหรือฝุ่นละอองเกาะจับ เพราะจะทำให้ประสิทธิภาพของมอเตอร์ลดลง และสิ้นเปลือง
พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น
ปัจจุบันเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้ก้าวหน้าไปมาก ทำให้วงการอุตสาหกรรมต่างๆเจริญรุดหน้าไปมากขึ้น
ทุกที ดังจะเห็นได้จากการผลิตอุปกรณ์ต่างๆ ก็ได้เครื่องจักรที่ทันสมัย จนถึงขั้นผลิตด้วยเครื่องอัตโนมัติ
และควบคุมการผลิตด้วยสมองกล สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ จึงสนองความต้องการของตลาดได้อย่าง
รวดเร็วสินค้าชนิดหนึ่งสำหรับผู้ที่ต้องประหยัดพลังงานและให้เข้ากับสภาวะในปัจจุบัน ที่ต้องการรณรงค์
เรื่องสภาวะโลกร้อน ก็คือ พัดลมรีโมท
วงจร รูปร่าง โครงสร้างให้เหมาะสมตามสัดส่วน เป็นชุดสาธิตการใช้งานจริง ซึ่งกลุ่มของกระผมได้
ศึกษามาเป็นอย่างดีแล้ว จึงนำเสนอให้แก่ผู้ที่สนใจและผู้ที่ต้องการเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับพัดลมรีโมท
1.2
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.2.1
เพื่อศึกษาโครงสร้างและวงจรของพัดลมรีโมท
1.2.2
เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนของครู- อาจารย์
1.2.3
เพื่อเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น
1.2.4
เพื่อฝึกประสบการณ์ในการทำสารนิพนธ์และสามารถพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นไป
1.2.5
เพื่อพัฒนาในการประยุกต์เครื่องใช้ไฟฟ้า
1.3
ขอบเขตของโครงงาน
1.3.1
ได้โครงงานที่ทำจากพัดลมขนาด 16 นิ้ว
1.3.2
ได้โครงงานที่ทำขึ้นเพื่อความสะดวกสบาย
1.3.3
สมารถต่อประกอบกับกับวงจรเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นได้
1.3.4
สามารถเคลื่อนย้ายได้โดยการยก
1.4
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.5.1
ทราบถึงโครงสร้าง วงจรของพัดลมและรีโมท
1.5.2
ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนของครู- อาจารย์
1.5.3
นำไปประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น
1.5.4
มีประสบการณ์ในการทำสารนิพนธ์และสามารถพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นไป
1.5.5
เพื่อประโยชน์สูงสุด
1.5.6
เพื่อสะดวกสบายในการใช้งาน
1.5.7
เพื่อเป็นการพัฒนาการประยุกต์เครื่องใช้ไฟฟ้า

แผนการดำเนินงาน
3.1
วิธีการดำเนินงาน
ทำการวางแผนและออกแบบโครงสร้างของระบบ ที่นำมาประกอบกัน เป็นชุดวงจร ที่คิดขนึ้ มาใหม่
โดยแบ่งขั้นตอนออกได้เป็น
5 ขั้นตอน ดังนี้
1.
ทฤษฏีการทำลายแผนพื้น
2.
การออกแบบกล่องใส่รีโมท
3.
ศึกษาการใช้งานของชุดพัดลม และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
4.
รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
5.
สรุปผลการดำเนินงาน
3.2
ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
3.2.1
ขั้นตอนการออกแบบ
ศึกษาส่วนประกอบของโครงงานและโครงสร้างของพัดลมและระบบ วงจรต่างๆ เพื่อ
นำมาประกอบการออกแบบสร้างพัดลมโดยใช้รีโมท นำพัดลมตั้งโต๊ะ มาทำการแกะปุ่มกดปรับระดับความ
แรงของพัดลมออก จากนั้นทำช่องใส่วงจรทำการติดตั้งวงจรลงไปในช่องปรับความแรงของพัดลม ประกอบ
เข้าชุด
ภาพ
3.1 วงจร
3.2.2
หลักการทำงาน
3.2.2.1
ทำงานด้วยความถี่คลื่น UHF
3.2.2.2
ควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้า 220V 500W (สามารถดัดแปลงให้ใช้กับเครื่องที่กินกำลังวัตต์สูงได้)
3.2.2.3
ตั้งการป้อนรหัสด้วยการอ่านคลื่นความถี่จากตัวลูก (1 ชุด สามารถใช้ตัวลูกได้ถึง 20 ตัว)
3.2.2.4
สามารถตั้งการสั่งงานสวิทซ์ของรีโมทได้3 แบบคือ
1.
สั่งงานแบบกดทีนึงติด - กดทีนึงดัง
2.
สั่งงานแบบกดสวิทซ์ค้างไว้ติด - ปล่อยสวิทซ์ที่กดไว้ก็จะดับ3. สั่งงานแบบกดสวิทซ์เลือกแบบกดเลือกสลับความแรงของพัดลม
คณะผู้จัดทำ
1.นายณัฐวุฒิ สุประกรรม
2.นางสาวภาณุมาศ แสงอาจหาญ
3.นางสาวสุภาพร พิมพ์จันทร์